摘要:论文旨在对中泰水果产业的发展现状进行对比研究,分析中泰水果的市场需求,探索中泰水果产业间的合作与发展。文章通过对比和分析,对中泰水果产业化提出建议;水果加工需共同发展; 最后对两国的流通渠道建设给与建议。
文章指出中泰两国由于所处地域环境的不同,水果产品既有种类上的差异性,又有季节上的互补性。中国在温带水果产品上具有比较优势,而泰国在热带特色水果产品方面则有明显的优势。中泰水果产业间的互补性决定了两国水果产业存在巨大的合作发展空间。
关键词:水果产业;产业化;互补性;中泰
บทคัดย่อ :การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสถานการณ์ปัจจุบันของธุรกิจอุตสาหกรรมผลไม้ระหว่างไทยกับจีนเพื่อวิเคราะห์ความต้องการของการตลาดผลไม้ระหว่างไทยกับจีนและเพื่อศึกษาความร่วมมืออและการพัฒนาของอุตสาหกรรมผลไม้ไทยกับจีนการศึกษาค้นคว้าโดยการวิเคราะห์และเปรียบเทียบเพื่อเสนอแนวคิดที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมผลไม้ไทยกับจีน ในขณะเดียวกันการแปรรูปผลไม้ก็ต้องการการพัฒนาด้วยเช่นกันและสุดท้ายได้ ให้ข้อเสนอแนะที่คิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งสองประเทศ
ผลการวิจัยพบว่าประเทศจีนและประเทศไทยเนื่องจากอยู่ที่ภูมิภาคสิ่งแวดล้อมไม่เหมืออนกัน ผลิตภัณฑ์ผลไม้จึงมีลักษณะความแตกต่างกันในด้านชนิด ยังมีลักษณะเสริมซึ่งกันและกันในด้านฤดูกาลประเทศจีนได้เปรียบค่อนข้างในผลิตภัณฑ์ผลไม้ในเขตอบอุ่น ประเทศไทยก็มีข้อได้เปรียบในด้านผลิตภัณฑ์ผลไม้พิเศษที่เขตร้อน ลักษณะเสริมซึ่งกันและกันของอุตสาหกรรมผลไม้ไทยกับจีนจึงตกลงมีช่องว่างที่ความร่วมมืออและการพัฒนาใหญ่มากในทั้งสองประเทศ
คำสำคัญ: อุตสาหกรรมผลไม้ ลักษณะความเป็นอุตสาหกรรม การเสริมซึ่งกันและกัน ไทยกับจีน
สารบัญ
หน้า
บทที่
1 บทนำ 1
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย2
ขอบเขตของการวิจัย 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2
2 ผลการวิจัย 3
ตอนที่1 วิเคราะห์ความต้องการของการตลาดผลไม้ระหว่างไทยกับจีน 3
- 1.1ตลาดผลไม้ไทยที่ส่งอิทธิพลต่อตลาดผลไม้จีน 3
1.2ตลาดผลไม้จีนที่ส่งอิทธิพลต่อตลาดผลไม้ไทย 4
ตอนที่2 วิเคราะห์และเปรียบเทียบอุตสาหกรรมผลไม้ของไทยกับจีน4
2.1เปรียบเทียบขนาด การผลิตและการแปรรูปของอุตสาหกรรมผลไม้ 4
2.2เปรียบเทียบการค้า ยี่ห้อและราคาการตลาดของผลไม้ 9
2.3 วิเคราะห์ปัญหาที่อยู่ในพัฒนาอุตสาหกรรมผลไม้ระหว่างไทยกับจีน 11
ตอนที่3 ศึกษาการพัฒนาที่อุตสาหกรรมผลไม้ของไทยกับจีน 14
3.1 ลักษณะเสริมซึ่งกันและกันของการตลาดผลไม้ระหว่างไทยกับจีน 14
3.2ศึกษาการพัฒนาและความร่วมมืออของอุตสาหกรรมผลไม้ระหว่างไทย-จีน 16
3 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ18
สรุปผลการวิจัย 18
อภิปรายผล19
ข้อเสนอแนะ 19
บรรณานุกรม 20
ประวัติผู้วิจัย21